หลักเกณฑ์ของราชบัณฑิตยสถาน (พ.ศ. 2535) ของ การทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่น

หลักทั่วไป

1. หลักเกณฑ์นี้ใช้ถ่ายเสียงภาษาญี่ปุ่นที่เขียนด้วยอักษรโรมัน

2. การเทียบเสียงสระ ให้ถือตามตารางการเทียบเสียงสระภาษาญี่ปุ่น

3. เสียงสระในภาษาญี่ปุ่นมีทั้งเสียงสั้นและเสียงยาว ซึ่งทำให้คำมีความหมายต่างกัน ฉะนั้นหลักเกณฑ์นี้จึงแยกเสียงสระสั้นและสระยาวออกจากกัน เช่น

tori
toori, tōri
denwa
=
=
=
ริ
ทริ
เด็งวะ

4. ปรกติสระที่อยู่ติดกันจะออกเสียงแยกกัน ยกเว้นสระ ei ซึ่งออกเสียงเป็น เอ เช่น

Dai
Fujieda
sensei
=
=
=
ะอิโต
ฟุจิเดะ
เซ็น

5. การเทียบเสียงพยัญชนะ ให้ถือตามตารางการเทียบเสียงพยัญชนะภาษาญี่ปุ่น

ตารางเทียบเสียง

เสียงพยัญชนะ

อักษรโรมันเงื่อนไขเสียงใช้ตัวอย่างคำคำทับศัพท์
 b b บ obi โอะบิ
 konbanwa คมบังวะ
 ch พยางค์แรก t͡ɕʰ ช chiisai, chīsai ชีซะอิ
 พยางค์อื่น t͡ɕ ช konnichiwa[# 1] คนนิชิวะ
 d d ด denwa เด็งวะ
 Yamada ยะมะ
 f ɸ ฟ Fujisan ฟุจิซัง
 fune ฟุเนะ
 g พยางค์แรก ɡ ก ginkoo, ginkō กิงโก
 พยางค์อื่น ŋ, ɡ~ɣ ง[# 2] arigatoo, arigatō อะริะโต
 h ตามด้วย a, e, o h ฮ hashi ะชิ
 ตามด้วย i ç ฮ Hiroshima ฮิโระชิมะ
 j d͡ʑ~ʑ จ kaji คะจิ
 k พยางค์แรก kʰ ค kao ะโอะ
 พยางค์อื่น k ก[# 3] niku นิกุ
 -kk k̚k กก gakkoo, gakkō กั
 m m ม mado ะโดะ
 n ต้นพยางค์และตามด้วย a, e, o, u n น Nagoya ะโงะยะ
 ต้นพยางค์และตามด้วย i ɲ น konnichiwa คนนิชิวะ

 n เมื่ออยู่ในตำแหน่งท้ายพยางค์จะออกเสียงได้หลายอย่าง จึงกำหนดไว้ดังนี้

(1) เมื่อตามด้วยพยัญชนะ b, m และ p ออกเสียง [m] ให้ถอดเป็น ม เช่น
shinbun  =  ชิบุง
sanmai  =  ซัไม
enpitsu  =  เอ็ปิสึ
(2) เมื่อตามด้วยพยัญชนะ g และ k ออกเสียง [ŋ] และเมื่อตามด้วยพยัญชนะ h และ w ออกเสียง [ɰ̃] ให้ถอดเป็น ง เช่น
ringo  =  ริโงะ
ginkoo, ginkō  =  กิโก
denwa  =  เด็วะ
(3) เมื่ออยู่ท้ายสุดของคำ ออกเสียง [ɴ] ให้ถอดเป็น ง เช่น
hon  =  ฮ
san  =  ซั
(4) ในกรณีอื่น ๆ นอกจากที่กำหนดไว้ในข้อ (1), (2) และ (3) ออกเสียง [n], [ɲ] และ [ɰ̃] (ขึ้นอยู่กับฐานกรณ์ของพยัญชนะที่ตามมา) ให้ถอดเป็น น เช่น
gunjin  =  กุจิง
hontoo, hontō  =  ฮโต
undoo, undō  =  อุโด
chichimenchoo, chichimenchō  =  ชิชิเม็โช
densha  =  เด็ชะ
onna  =  อนะ
kanri  =  คัริ
dansei  =  ดัเซ
 p พยางค์แรก pʰ พ pen เพ็
 พยางค์อื่น p ป[# 4] tenpura เท็มปุระ
 -pp p̚p ปป Nippon นิปป
 r ɾ ร ringo ริงโงะ
 s s ซ sakana ะกะนะ
 sh ɕ ช sashimi[# 5] ซะชิมิ
 -ss sː สซ kissaten คิสซะเต็ง
 -ssh ɕː สช zasshi ซัสชิ
 t พยางค์แรก tʰ ท te เ
 พยางค์อื่น t ต[# 6] migite มิงิเ
 -tch, -cch t̚t͡ɕ ตช itchi, icchi อิตชิ
 tsu t͡sɯ สึ tsukue สึกุเอะ
 -ttsu t̚t͡sɯ ตสึ mittsu มิตสึ
 w ɰ ว watashi ะตะชิ
 y j ย yama ะมะ
 z d͡z~z ซ mizu มิซุ
หมายเหตุ
  1. chi ในบางแห่งอาจเขียนเป็น ti โดยออกเสียงเหมือน chi
  2. พยัญชนะ g ในพยางค์อื่น ๆ ที่ไม่ใช่พยางค์แรกจะออกเสียงใกล้เคียงกับเสียง ง ในภาษาไทย จึงกำหนดให้ใช้ ง
  3. พยัญชนะ k ในพยางค์อื่น ๆ ที่ไม่ใช่พยางค์แรกจะออกเสียงใกล้เคียงกับเสียง ก ในภาษาไทย จึงกำหนดให้ใช้ ก
  4. พยัญชนะ p ในพยางค์อื่น ๆ ที่ไม่ใช่พยางค์แรกจะออกเสียงใกล้เคียงกับเสียง ป ในภาษาไทย จึงกำหนดให้ใช้ ป
  5. shi ในบางแห่งอาจเขียนเป็น si โดยออกเสียงเหมือน shi
  6. พยัญชนะ t ในพยางค์อื่น ๆ ที่ไม่ใช่พยางค์แรกจะออกเสียงใกล้เคียงกับเสียง ต ในภาษาไทย จึงกำหนดให้ใช้ ต

เสียงสระ

อักษรโรมันเสียงใช้ตัวอย่างคำคำทับศัพท์
A
 a a –ะ, –ั yama ย
 sakura ซกุร
 gakkoo, gakkō กักโก
 san ซั
 aa, ā aː –า okaasan, okāsan โอะกซัง
 obaasan, obāsan โอะบซัง
E
 e e เ–ะ, เ–็ ike อิ
 fune ฟุ
 denwa เด็งวะ
 sensei เซ็นเซ
 ee, ē eː เ– ee, ē 
 oneesan, onēsan โอะนซัง
 ei eː เ– sensei เซ็น
I
 i i –ิ kin คิ
 kaki คะกิ
 hashi ฮะชิ
 ii, ī iː –ี oniisan, onīsan โอะนีซัง
 oishii, oishī โอะอิชี
O
 o o โ–ะ, โ–ะ (ลดรูป) ocha ชะ
 kome เมะ
 Nippon นิปปง
 konnichiwa คนนิชิวะ
 oo, ō oː โ– otoosan, otōsan โอะตซัง
 sayoonara, sayōnara ซะยนะระ
U
 u ɯ –ุ shinbun ชิมบุ
 isu อิซุ
 Suzuki ซุซุกิ
 uu, ū ɯː –ู juuyoo, jū จูโย
 juusho, jūsho จูโชะ
Y[# 1]
 -ya ʲa เ–ียะ kyaku เคียะกุ
 hyaku เฮียะกุ
 -yaa, -yā ʲaː เ–ีย nyaanyaa, nn เนียเนีย
 -yo ʲo เ–ียว ryokoo, ryo เรียวโก
 -yoo, -yō ʲoː เ–ียว byooin, bin เบียวอิง
 ryoori, rri เรียวริ
 -yu ʲɯ –ิว kyu คิว
 -yuu, -yū ʲɯː –ีว kyuukoo, k คีวโก
หมายเหตุ
  1. รูปเขียน y ออกเสียงกึ่งสระเมื่อตามหลังพยัญชนะ จึงกำหนดให้เป็นเสียงสระเพื่อความสะดวกในการออกเสียง

ใกล้เคียง

การทัพนอร์เวย์ การทัพกัลลิโพลี การทัพมาลายา การทัพปราบตั๋งโต๊ะ การทับศัพท์ การทัพหมู่เกาะโซโลมอน การทัพตามแนวชายแดนจีน-พม่า การทัพอัลอันฟาล การทัพอินโดจีนฝรั่งเศสครั้งที่สอง การทัพกัวดัลคะแนล